พาร์กินสัน เป็นโรคทางระบบประสาทที่พบได้บ่อย มักจะพบมากในผู้สูงอายุ วัย 50-60 ปีขึ้นไป เกิดจากการเสียสมดุลของสารโดปามีนในสมอง โดยเซลล์สมองส่วนที่สร้างโดปามีนถูกทำลายไปมากกว่าร้อยละ 80 โดปามีนเป็นสารเคมีในสมอง ทำหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย หากขาดโดปามีนในสมอง จะทำให้การเคลื่อนไหวของร่างกายผิดปกติ
อาการของโรคพาร์กินสัน จะทำให้เกิดอาการทางระบบประสาทเด่นชัด คือ อาการสั่น โดยอาการสั่นมักเกิดขณะที่อยู่เฉยๆ และจะสั่นมากเวลาอยู่นิ่งๆ เกิดกับมือข้างใดข้างหนึ่ง อาการเกร็ง มักมีอาการแข็งตึงของแขนขาและลำตัว ทำให้เคลื่อนไหวลำบาก และอาการเคลื่อนไหวช้า ไม่ว่าจะเป็นการเดิน ยืน นั่ง หรือเคลื่อนไหวร่างกาย จึงช้าลงไปจากเดิม ไม่กระฉับกระเฉงว่องไวเหมือนเช่นเคย สังเกตได้ว่าแขนไม่แกว่ง และแขนขาไม่มีแรง ในศาสตร์ของแพทย์แผนจีน ให้ชื่อโรคนี้ว่า “อาการเกร็ง” อันเกิดจากความพร่องของไตและหยินของตับ ร่วมกับการเกิดลมภายใน ทำให้เกิดอาการสั่น และเกร็ง หรือเกิดจากการดื่มสุรา รับประทานยาที่ไปทำลายตับ รวมทั้งผู้ที่มีภาวะเสมหะและเลือดอุดกั้นในเส้นลมปราณ ถ้าเป็นที่ไต จะมีแยกออกมาเป็น หยินพร่อง หยางพร่อง หรือเป็นหยินหยางพร่อง การสังเกตอาการคนที่หยินพร่องคือ นอนไม่หลับหรือหลับไม่สนิท สำหรับคนที่หยางพร่อง คือ มือเท้าเย็น เท้าไม่มีแรง
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการฝังเข็ม ได้กล่าวถึงการรักษาแบบแพทย์แผนจีนด้วยการฝังเข็มว่า การรักษาโรคพาร์กินสันด้วยการฝังเข็มนั้นเป็นทางเลือกที่ดีอีกทางหนึ่ง ถ้าเริ่มเป็นโอกาสที่จะควบคุมอาการไม่ให้ขยายตัวเร็วจะยิ่งมีมาก ในการรักษาจะเริ่มจากการบำรุงไตและตับ โดยจะเน้นไปที่การบำรุงส่วนที่เป็นหยิน กำจัดเสมหะที่สะสมอยู่ภายใน สลายการคั่งของเลือดและเพื่อสงบลมภายใน การรักษาด้วยการฝังเข็มนั้นจะช่วยกระตุ้นและปรับระบบหยินหยางให้ดียิ่งขึ้น จุดที่ฝังเข็มส่วนใหญ่จะเป็นบริเวณที่ศีรษะ เท้า หลังและคอ
นอกจากนี้ยังมีสมุนไพรจีนเพื่อช่วยในการรักษาและช่วยให้ร่างกายปรับสภาพสมดุลทำให้หยินหยางดีขึ้นอีกด้วย ผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน ไม่ควรรับประทานอาหารรสจัด และไขมันสูง รับประทานอาหารที่ช่วยทำให้การขับถ่ายดีขึ้น ควรการออกกำลังกายและทำกายภาพบำบัด เพื่อเสริมความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและกระดูก ฝึกการทรงตัว โดยการฝึกพลังจี่กงเพื่อปรับหยินหยางให้สมดุล สิ่งเหล่านี้ ยิ่งจะช่วยทำให้ผู้ป่วยรู้สึกสบาย แข็งแรง และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอีกด้วย ผลการรักษาด้วยวิธีการฝังเข็มและรับประทานยาสมุนไพรควบคู่กันไปจะใช้ระยะเวลาการรักษาประมาณ 3-6 เดือน ผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ้น อาการสั่นลดลง และช่วยเหลือตนเองได้ดีขึ้น
การออกกำลังกายใน ผู้ป่วยพาร์กินสัน การออกกำลังกาย ควรบริหารทุกวันค่ะ วันละ 2 ครั้ง ในเวลา เช้า เย็น เพื่อให้กล้ามเนื้อมีการเคลื่อนไหว ช่วยเพิ่มมุมและองศาการเคลื่อนไหว ให้มีประสิทธิภาพ ลดการแข็งของลำตัว ทำให้ประสิทธิภาพในการหายใจดีขึ้น ช่วยชะลอและป้องกันการฝ่อลีบที่อาจจะเกิดขึ้นจากการไม่ได้ใช้งานค่ะ
- ท่าชูมือ 2 ข้าง เหนือศีรษะ 30 ครั้ง เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อแขน และเพิ่มการเคลื่อนไหวของทรวงอก
- ท่ายกมือสลับ ซ้าย ขวา 30 ครั้ง เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อแขน และเพิ่มการเคลื่อนไหวของแขน ในขณะก้าวเดิน
- ท่าตบมือเหนือศีรษะ 30 ครั้ง เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อแขน และเพิ่มการเคลื่อนไหวของทรวงอก
- ท่าเอียงตัว ซ้าย ขวา 30 ครั้ง เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลำตัว และช่วยให้สามารถรักษาสมดุลของร่างกายได้ดีขึ้น
- ท่าบิดตัว ซ้าย ขวา 30 ครั้ง เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลำตัว และช่วยให้สามารถรักษาสมดุลของร่างกายได้ดีขึ้น
- ท่านั่งแตะสลับ 30 ครั้ง เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลำตัว ลดการตัวแข็ง และช่วยให้สามารถรักษาสมดุลของร่างกายได้ดีขึ้น
- ท่ายืนเขย่งเท้าสองข้าง 30 ครั้ง เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาและน่อง ช่วยให้ก้าวเดินได้ดีขึ้น
- ท่ายืนงอเข่า 30 ครั้ง เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาและรอบข้อเข่า ช่วยให้ก้าวเดินได้ดีขึ้น
- ท่าเตะขาไปทางด้านหน้า ด้านหลัง 30 ครั้ง เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อสะโพกและขา ช่วยให้ก้าวเดินได้ดีขึ้น
- ท่ายืนกางขา ข้างละ 30 ครั้ง เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา ช่วยให้ก้าวเดินได้ดีขึ้น
- ท่าย่ำเท้าอยู่กับที่ 200 ครั้ง เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา ช่วยให้ก้าวเดินได้ดีขึ้น
- เดินเป็นวงกลมกว้าง วงรอบใหญ่ ไป กลับ ระยะทาง 5 เมตร 10 รอบ เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา ช่วยให้ก้าวเดินและหมุนตัวได้โดยไม่ล้ม
โภชนาการกับโรคพาร์กินสัน
ผู้ป่วยพาร์กินสัน ควรได้รับสารอาหารอย่างถูกต้องครบถ้วนตามความต้องการของร่างกาย เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะขาดอาหาร ซึ่งจะทำให้มวลกล้ามเนื้อของร่างกายลดลง อ่อนเพลีย ไม่มีแรง ไม่มีอาหารชนิดใดที่ต้องห้าม หรือแสลงสำหรับผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน ปัญหาที่พบบ่อย ในผู้ป่วยที่ควรปรับปรุง
- สุขภาพฟัน ควรดูแลรักษาให้ใช้ในการขบเคี้ยวอาหารได้ดี
- ควรรับประทานอาหารทุกมื้อในปริมาณที่พอเหมาะ ควรให้เวลาในการรับประทานอาหารแต่ละมื้อ ไม่ควรเร่งรีบเกินไปจนสำลักอาหาร โดยเฉพาะผู้ที่มีปัญหากลืนลำบาก ไม่ควรรับประทานยาก่อน หรือหลังอาหารทันที ควรจะเป็นครึ่งชั่วโมงก่อนอาหาร หรือ 1 ชั่วโมงหลังอาหาร ทั้งนี้เพราะอาหารบางชนิดจะรบกวนการดูดซึมของยา ทำให้ประสิทธิภาพของยาลดลง ถ้ามีปัญหาคลื่นไส้ อาเจียน หรือเบื่ออาหาร ควรปรึกษาแพทย์
- อาหารบางชนิดที่รบกวนการดูดซึมของยา ได้แก่ อาหารประเภท โปรตีน เช่น เนื้อ ปลา ไข่ นม ถั่ว เป็นต้น นอกจากนี้อาหารเสริม หรือวิตามิน เช่น วิตามิน B6 และธาตุเหล็ก ไม่ควรรับประทานพร้อม ๆ กับยา เพราะจะทำให้ประสิทธิภาพของยาลดลง
- เพิ่มของเหลวในอาหาร ดื่มน้ำมาก ๆ ประมาณ 8-10 แก้วต่อวัน (ประมาณวันละ 2 ลิตรครึ่ง) รวมทั้งรับประทานอาหารประเภทมีกากอาหาร และใยอาหาร (FIBER) มาก ๆ เช่น ผัก ผลไม้ จะช่วยป้องกันในเรื่องท้องผูกได้ เมื่อเกิดปัญหาท้องผูก ไม่ควรใช้ยาถ่ายเป็นประจำ เพราะอาจมีผลข้างเคียงจากยา การทำงานของลำไส้จะยิ่งน้อยลง ถ้าไม่ถ่ายอุจจาระเลยนานเกิน 3 วัน อาจจำเป็นต้องสวนถ่าย
ซาจับไท้เป้า ตราเต่าตาง
主治:婦女月內風疾病,產後惡露不行。
成分:谷精 益母草 人參 。阿膠 高麗參 冬蟲夏草 當歸等
功效:溫經散寒 活血桔淤生新氣血雙補
適應症:氣血虛弱,畏風怕冷,出虛汗,四肢麻木,抽搐,下肢水腫,自感一身沉重,無力,頭暈眼花、腰酸困疼痛,小腹痛,關節疼痛,遇冷,遇風疼痛症狀加重。
用法:內服每天兩次,每吹十五~三十毫升,早晚各一次。
รสหวานกลิ่นโสมคน สรรพคุณบำรุงร่างกาย ช่วยให้ผิวพรรณเปล่งปลั่ง เหมาะอย่างยิ่งสำหรับทุกคน ไม่เฉพาะสำหรับสตรีวัยทองหรือหลังการคลอดบุตรเท่านั้น บรรเทาอาการอ่อนล้า ไม่มีแรง วิงเวียนศีรษะ ปวดตามข้อ ขาบวม มือชาเท้าชา สกัดจากสมุนไพรจีนแท้ๆ ชั้นดีแผนโบราณ กว่า 30 ชนิด ไม่มีสารสเตียรอยด์ ที่ผ่านการปรุงจากแพทย์จีนผู้เชี่ยวชาญ ด้วยวิธีการและเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อประสิทธิภาพที่ดีในการบำรุงร่างกายและรักษาโรคไม่เฉพาะกับผู้หญิงเท่านั้น รับประทานได้บ่อยครั้งตามต้องการ ไม่มีผลข้างเคียง
ชาสมุนไพร เจียวกู้หลาน ตราเต่าตาง มีคุณสมบัติคล้ายโสม แต่ดีกว่าโสม เพราะมีสาร Gynpenosides มากกว่าโสม 3-4 เท่า ซึ่งสารเหล่านี้ ไม่พบในชาอู่หลง และชาใบหม่อน ชาเจียวกู้หลานให้คุณค่าสมุนไพรบำรุงร่างกายและช่วยป้องกันโรคได้หลายชนิด สารซาโปนินในสมุนไพรมีความสำคัญต่อผู้ป่วยโรคตับอักเสบ โรคเบาหวาน ไม่มีสารตกค้าง ผลิตจากสมุนไพรเจียวกู้หลานป่า ไม่ใช้สารเคมีปุ๋ยหรือยาฆ่าแมลง
จากงานวิจัยทั้งของไทยและต่างประเทศ พบว่าเจียวกู้หลานให้คุณค่า 2 ประเภท คือ ทั้งป้องกันและบำรุงร่างกาย เพิ่มความแข็งแกร่งให้เซลล์ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการสั่งการของสมอง ลดความดันโลหิต ลดคอเลสเตอรอล ฟอสฟอไลปิดและกรดไขมันอิสระ ลดน้ำตาลในเลือด ชะลอความชรา ยืดอายุเซลล์ รักษาโรคปวดหัวข้างเดียวไมเกรน สร้างเซลล์สมอง ทำให้ความจำดี กระตุ้นการสร้างเซลล์เม็ดเลือดขาว ผู้ที่มีอาการภูมิแพ้ แพ้อากาศ แก้หอบหืด ลดน้ำตาลในกระแสเลือด ป้องกันมะเร็ง ต้านอนุมูลอิสระ ปลอดภัย ดื่มได้ทุกวัน ไม่มีผลข้างเคียง
หลินจือสกัด
สรรพคุณ : เสริมสร้างภูมิต้านทาน บำรุงอวัยวะภายใน
ตัวยาสำคัญ : เห็ดหลินจือสกัด
เซินจือเซียงตาง สกัดจากสมุนไพรจีนแท้ๆ ชั้นดีแผนโบราณ ไม่ใช่ยาสังเคราะห์ ไม่มีสารสเตียรอยด์ ผ่านการปรุงจากแพทย์จีนผู้เชี่ยวชาญ ด้วยวิธีการและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ใน 1 แคปซูล ประกอบด้วยสมุนไพรจีนหลายชนิดที่มีปริมาณพอเหมาะพอดี ทำให้แต่ละตัวออกฤทธิ์ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ โดยเฉพาะสมุนไพรที่ให้ผลในการรักษาบำรุงร่างกาย กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายให้ทำหน้าที่ปกติ ต้านทานการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง ต้านการจับตัวของลิ่มเลือด ลดน้ำตาลในเลือด ช่วยลดอาการสั่น
ประโยชน์ทางยา – บำรุงหัวใจ ม้าม ตับ ปอด ไต การฉูบฉีดของหัวใจ- หลอดเลือด – ฟอกเลือด บำรุงร่างกาย ช่วยให้นอนหลับสบาย รักษาโรคประสาท-อาการทางจิตใจ ช่วยให้มีชีวิตชีวา หลอดลมอักเสบ หืด-หอบ ลดความดัน โลหิตสูง ลดปริมาณน้ำตาลในเลือด ลดคอเรสเตอรอล – ช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันในร่างกาย รักษาอาการภูมิแพ้ต่าง ๆ -มีฤทธิ์ช่วยยับยั้งเซลล์เนื้องอก-มะเร็งต่าง ๆ อาการแพ้ต่าง ๆ – ช่วยป้องกันการถูกทำลายของตับ ยับยั้งการหลั่งของฮีสตามิน – แก้ปวดตามข้อ บำรุงเอ็น-กระดูก บำรุงประสาท – ช่วยเปลี่ยนสารพิษในร่างกายให้เป็นสารที่มีประโยชน์แทน
หวู่อื๊อเซียงตาง
สรรพคุณ : ปรับธาตุ
ตัวยาสำคัญ : ตานเซียง เทียนจู่หวง หนิวหวง
ประกอบด้วยสมุนไพรจีนหลายชนิดที่ให้ผลในการปรับธาตุ ปรับสมดุล หยินหยาง กินอาหารตามธาตุ ” ธาตุ ” หมายถึง ” สภาวะสภาพ” ดังนั้น การกินอาหารตามธาตุ จึงหมายถึง ” การกินอาหารให้เหมาะสมกับสภาวะสภาพของร่างกาย ” นั่นเอง แนวคิดการแพทย์แผนจีน กล่าวว่า ” อาหารและยามาจากแหล่งเดียวกัน” ในแพทย์แผนจีน ได้กล่าวถึงรสชาติของอาหารที่เข้าสู่ส่วนอวัยวะต่าง ๆ ร่างกาย เช่น รสเปรี้ยวเข้าตับ รสขมเข้าหัวใจ รสหวานเข้าม้าม (หรือระบบย่อยอาหาร) รสเผ็ดเข้าปอด รสเค็มเข้าไต นอกจากนี้ยังกล่าวถึงสีของอาหารไว้ด้วย ดังนี้ สีเขียวเข้าตับ สีแดงเข้าหัวใจ สีเหลืองเข้าม้าม สีขาวเข้าปอด สีดำเข้าไต นั่นคือ อาหารที่กินเข้าไปจะไปบำรุง และทำร้าย อวัยวะที่แตกต่างกันในร่างกาย
ไป่ตั๊กเซียงตาง
สรรพคุณ : ล้างสารพิษจากร่างกาย
ตัวยาสำคัญ : เทียนตง เบ้กฉ้งย้ง หล่อฮังก้วย ฮวงเซียะเอี๊ยะ
ประกอบด้วยสมุนไพรจีนหลายชนิดที่ให้ผลในการขับพิษ ล้างสารพิษภายในร่างกาย ช่วยให้ลำไส้ทำงานได้ดีขึ้น การล้างพิษเพื่อขับของเสียและสารพิษให้ออกไปจากร่างกาย เมื่อ
- ร่างกายอ่อนเพลียและเหนื่อยง่าย ไม่ค่อยมีแรง เซื่องซึม หดหู่ใจ ไม่กระปรี้กระเปร่า
- มีอาการของโรคภูมิแพ้ มักแพ้อะไรง่าย เช่น แพ้กลิ่นต่างๆ แพ้อากาศบ่อยๆ มีภูมิต้านทานโรคต่ำ ทำให้ไม่สบายหรือเป็นหวัดได้ง่าย
- ปวดศีรษะ มึนงงบ่อยๆ ขี้ลืม สมองไม่ปลอดโปร่ง คิดอะไรไม่ค่อยออก
- มีสิวและผดผื่นขึ้น มีกลิ่นปาก หรือมีแผลในช่องปาก ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น นอนหลับยาก รู้สึกว่านอนไม่พอ อารมณ์แปรปรวนง่าย ประสาทตึงเครียด
- จุกเสียด แน่นท้อง ปวดท้องเป็นประจำ เพราะระบบการย่อยอาหารมีปัญหา มักเป็นโรคเกี่ยวกับกระเพาะอาหาร ลำไส้ ริดสีดวงทวาร ท้องผูกเป็นประจำ ท้องเสียง่าย
- ผิวหมองคล้ำ เกิดริ้วรอยง่าย ผิวแห้งและหยาบกร้าน ดูแก่กว่าวัย
- มักปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อหรือข้อต่อต่างๆ
ฮงฮัวเฟิน เกสรผึ้ง
สรรพคุณ : ปรับฮอร์โมน บำรุงผิวพรรณ ช่วยให้นอนหลับ รักษาบำรุงร่างกาย บำรุงไต
ตัวยาสำคัญ : เกสรผึ้งสกัด
เกสรผึ้ง (Pollen) คือละอองเม็ดเล็กๆ คล้ายฝุ่นแป้งที่เกิดจากการหลุดจากช่อเกสรตัวผู้ของดอกไม้นานาชนิด ผึ้งจะไปเก็บรวบรวมเกสรเหล่านี้มาผสมกับน้ำหวานของดอกไม้และทำเป็นก้อนเล็กๆ ติดมากับขา แล้วนำไปเก็บในรังเพื่อเป็นอาหารโปรตีนเลี้ยงตัวอ่อน เกสรผึ้ง มีธาตุอาหารหลักคือ คาร์โบไฮเดรต 60 % กรดอะมิโน 20 % ไขมัน 7 % เกลือแร่ 6 % และน้ำ 7 % ประโยชน์ของเกสรผึ้ง ใช้กับโรคภูมิแพ้ ประเภทแพ้อากาศ ฝุ่นละออง แต่หากแพ้เกสรดอกไม้ห้ามรับประทานเกสรผึ้ง บำบัดผู้เป็นโรครูมาติซั่ม รอบเดือนมาไม่ปกติ ยังช่วยบำรุงร่างกายนักกีฬา ช่วยคลายความเหน็ดเหนื่อย สร้างความกระฉับกระเฉง บำรุงเส้นผมให้ดกดำ เป็นสารฮอร์โมนธรรมชาติที่กระตุ้นและบำรุงระบบสืบพันธุ์ทั้งชายและหญิง เพิ่มสมรรถภาพทางเพศให้ผู้ไม่มีบุตรในวัยเจริญพันธุ์ อาจมีบุตรได้เพราะเกสรผึ้งจะทำให้สตรีตกไข่ดีขึ้น สร้างความแข็งแรงและเพิ่มจำนวนสเปิร์ม